Plpainnovationcenter
  • Home
  • หน้าที่และความรับผิดชอบ
  • บุคลากร
  • งานวิจัย
  • Untitled
  • ภาพกิจกรรม
  • ติดต่อเรา

        ๑.๑   ศูนย์ศึกษาและวิจัยอุทยานแห่งชาติ จังหวัดพิษณุโลก รับผิดชอบดำเนินการในอุทยานแห่งชาติทางบก จำนวน 30 แห่ง ได้แก่
๑.  สำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ ๑๑ (พิษณุโลก)
    
๑.๑  อุทยานแห่งชาติทุ่งแสลงหลวง จ.พิษณุโลกเพชรบูรณ์
    ๑.๒  อุทยานแห่งชาติภูหินร่องกล้า  จ.พิษณุโลก – เลย
 
    ๑.๓  อุทยานแห่งชาติน้ำหนาว  จ.เพชรบูรณ์ – ชัยภูมิ 
    ๑.๔  อุทยานแห่งชาติน้ำตกชาติตระการ  จ.พิษณุโลก 
    ๑.๕  อุทยานแห่งชาติแก่งเจ็ดแคว  จ.พิษณุโลก 
    ๑.๖  อุทยานแห่งชาติคลองตรอน  จ.อุตรดิตถ์ 
    ๑.๗  อุทยานแห่งชาติภูสอยดาว  จ.อุตรดิตถ์ – พิษณุโลก 
    ๑.๘  อุทยานแห่งชาติลำน้ำน่าน  จ.อุตรดิตถ์ – แพร่ 
    ๑.๙  อุทยานแห่งชาติตาดหมอก  จ.เพชรบูรณ์ 
    ๑.๑๐ อุทยานแห่งชาติเขาค้อ  จ.เพชรบูรณ์ 
๒.  สำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ ๑๒ (นครสวรรค์)
    ๒.๑  อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ จ.นครสวรรค์-กำแพงเพชร
  
    ๒.๒  อุทยานแห่งชาติคลองลาน  จ.กำแพงเพชร 

    ๒.๓  อุทยานแห่งชาติคลองวังเจ้า จ.กำแพงเพชร-ตาก
๓.  สำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ ๑๓ (แพร่) 
    ๓.๑  อุทยานแห่งชาติดอยภูคา  จ.น่าน
    ๓.๒  อุทยานแห่งชาติศรีน่าน  จ.น่าน
    ๓.๓  อุทยานแห่งชาติแม่จริม  จ.น่าน 
    ๓.๔  อุทยานแห่งชาตินันทบุรี  จ.น่าน 
    ๓.๕  อุทยานแห่งชาติถ้ำสะเกิน  จ.น่าน-พะเยา 
    ๓.๖  อุทยานแห่งชาติขุนน่าน  จ.น่าน
    ๓.๗  อุทยานแห่งชาติขุนสถาน  จ.น่าน
    ๓.๘  อุทยานแห่งชาติเวียงโกศัย จ.แพร่-ลำปาง
    ๓.๙  อุทยานแห่งชาติแม่ยม  จ.แพร่-ลำปาง
    ๓.๑๐ อุทยานแห่งชาติดอยผากลอง  จ.แพร่
๔.  สำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ ๑๔ (ตาก) 
    ๔.๑  อุทยานแห่งชาติลานสาง  จ.ตาก
    ๔.๒  อุทยานแห่งชาติตากสินมหาราช  จ.ตาก
    ๔.๓  อุทยานแห่งชาติขุนพะวอ  จ.ตาก 
    ๔.๔  อุทยานแห่งชาติแม่เมย  จ.ตาก 
    ๔.๕  อุทยานแห่งชาติน้ำตกพาเจริญ  จ.ตาก 
    ๔.๖  อุทยานแห่งชาติศรีสัชนาลัย  จ.สุโขทัย
    ๔.๗  อุทยานแห่งชาติรามคำแหง  จ.สุโขทัย

Picture
Picture

ภารกิจหน้าที่
    ๑ . ส่งเสริม สนับสนุน และดำเนินการพัฒนานวัติกรรมใหม่ ในอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครองของประเทศไทย         
    ๒ . วิจัยและพัฒนา  ติดตามสถานภาพทรัพยากร  พัฒนา  กำกับดูแล  วิเคราะห์  ประเมิณทางวิชาการ  รวมทั้งให้ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการศึกษาวัติกรรมใหม่ในอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง
    ๓ . ส่งเสริม  วิเคราะห์ยุทธสาสตร์  วางแผน  ติดตามประเมิณผล  กำหนดนโยบายและแนวทางการจัดการพื้นที่คุ้มครอง  การจัดการแผนการจัดการอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง
    ๔ . ดำเนินงานตามโปรแกรมงานว่าด้วยพื้นที่คุ้มครอง  คณะอนุกรรมการที่ปรึกษาพหุภาคีว่าด้วยพื้นทที่คุ้มครอง  ในพื้นที่กันชนและแนวเชื่อมต่อกลุ่มป่าต่างๆ
    ๕ . สนับสนุน  ถ่ายทอด  ยกระดับทักษะในการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรในอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง
    ๖ . ประสานความร่วมมือกับหน่วยงาน และภาคีในภาคส่วนอื่นๆเช่น  ภาคเอกชน  ภาคประชาสังคมและองค์กรระหว่างประเทศ  เพื่อสนับสนุนการนำนวัตกรรมการจัดการพื้นที่คุ้มครองไปสู่การปฏิบัติ
     ๗ . ดำเนินงานให้สอดคล้องกับเป้าหมายของอนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ  โดยเฉพาะการดำเนินงานตามโปรแกรมพื้นที่คุ้มครอง
     ๘ . เพิ่มประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ  ประสานการใช้ประโยชน์และลดปัญหาความขัดแย้รวมทั้งเร่งรัดและฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติที่เสื่อมโทรมให้เป็นปัจจัยพื้นฐานของการพัฒนาที่ยั่งยืน
    ๙ .  สนับสนุนการใช้หลักเศรษฐศาสตร์สิ่งแวดล้อม  เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการทรัพยากรธรรมชาติให้มีประสิทธิภาพ
    ๑๐ . จำแนกระบุอุปสรรคทางนโยบายและกฎหมาย  ตลอดจนความรู้ที่ยังขาดแคลนอยู่  และสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้ออำนวยต่อการดำเนินงาน  รวมถึงการจัดทำกลไกการเงินที่เป็นนวัตกรรมใหม่และสร้างสรรค์คำแนะนำแนวทาง  คู่มือ  และกลยุทธ์การดำเนินงาน
    ๑๑ . ปฏิบัติงานร่วมกันหรือสนับสนุนการปฏิบัติงาน ของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง  หรือที่ได้รับมอบหมาย

Powered by Create your own unique website with customizable templates.